วันอาทิตย์, มิถุนายน 30, 2556

โปรดเกล้าฯครม.ปู 5

เมื่อเวลา 18.22 น. วันนี้ (30 มิ.ย.) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออก ณ ห้องประชุม สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชั้น 14 อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช พระราชทานพระบรมราชวโรกาสให้ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี นำรัฐมนตรี ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่งตั้งใหม่ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้าปฏิบัติหน้าที่
ในโอกาสนี้นายอำพน กิตติอำพน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี และนายสุรนันท์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ร่วมเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ด้วย
ต่อจากนั้นนางสาวยิ่งลักษณ์ นายกรัฐมนตรี นำคณะครม.ชุดใหม่ ไปยังศาลาศิริราช 100 ปี เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายแจกันดอกไม้ถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า  เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี (รัฐบาลน.ส.ยิ่งลักษณ์  ชินวัตร  5) โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประกาศให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯให้ประกาศว่า ตามที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้ง น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี
ตามประกาศลงวันที่ 5 ส.ค. 54 และแต่งตั้งรัฐมนตรี เพื่อบริหารราชการแผ่นดินตามประกาศลงวันที่ 9 ส.ค. 54 และประกาศครั้งสุดท้ายลงวันที่ 2 เม.ย. 56 นั้นบัดนี้ นายกรัฐมนตรีได้กราบบังคมทูลว่า สมควรปรับปรุงรัฐมนตรีบางตำแหน่ง เพื่อความเหมาะสมและบังเกิดประโยชน์ต่อการบริหารราชการแผ่นดินอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 171 และมาตรา 183 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
 
1. ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง รองนายกรัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรีและรมว.ศึกษาธิการพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
น.ส.ศันสนีย์ นาคพงศ์ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
พล.อ.อ. สุกำพล สุวรรณทัต รมว.กลาโหมพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายสันติ พร้อมพัฒน์ รมว.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร รมช.เกษตรและสหกรณ์พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายประเสริฐ จันทรรวงทอง รมช.คมนาคมพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข รมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ รมว.พาณิชย์พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
พล.ต.ท. ชัจจ์ กุลดิลก รมช.มหาดไทยพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก รมว.ยุติธรรมพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายเผดิมชัย สะสมทรัพย์ รมว.แรงงานพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายชลน่าน ศรีแก้ว รมช.สาธารณสุขพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
นายฐานิสร์ เทียนทอง รมช.อุตสาหกรรมพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี
 
2. ให้แต่งตั้งรัฐมนตรี ดังต่อไปนี้
นายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล เป็นรองนายกรัฐมนตรีและรมว.พาณิชย์
พล.ต.อ. ประชา พรหมนอก เป็นรองนายกรัฐมนตรี
นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา เป็นรองนายกรัฐมนตรี
นายสันติ พร้อมพัฒน์ เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็นรมว.กลาโหมอีกตำแหน่งหนึ่ง
พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา เป็นรมช.กลาโหม
นางเบญจา หลุยเจริญ เป็นรมช.คลัง
นางปวีณา หงสกุล เป็นรมว.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
นายวราเทพ รัตนากร เป็นรมช.เกษตรและสหกรณ์อีกตำแหน่งหนึ่ง
นายพ้อง ชีวานันท์ เป็นรมช.คมนาคม
นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็นรมว.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นายยรรยง พวงราช เป็นรมช.พาณิชย์
นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ เป็นรมช.มหาดไทย
นายชัยเกษม นิติสิริ เป็นรมว.ยุติธรรม
ร.ต.อ. เฉลิม อยู่บำรุง เป็นรมว.แรงงาน
นายพีรพันธุ์ พาลุสุข เป็นรมว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นายจาตุรนต์ ฉายแสง เป็นรมว.ศึกษาธิการ
นายสรวงศ์ เทียนทอง เป็นรมช.สาธารณสุข
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 30 มิ.ย. 56 เป็นปีที่ 68 ในรัชกาลปัจจุบัน ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ขอบคุณเนื้อหาจาก เดลินิวส์

วันพฤหัสบดี, มิถุนายน 27, 2556

Cannes Film Festival 2013 ครั้งที่ 66 ในวันที่ 15-26 พฤษภาคม 2013ที่ผ่านมา


Palm d’Or ( Best Film )
La Vie d’Adele – Chapitre 1&2 ( Blue is the warmest colour ) by Abdellatif Kechiche ( France )
Grand Prix ( Runner – up )
Inside Llewyn Davis by Ethan and Joel Coen ( U.S. )
Jury Prize ( Third Prize )
Soshite Chichi Ni Naru ( Like Father, Like Son ) By Kore-Eda Hirokazu ( Japan )
Camera d’Or ( Debut Film )
Ilo Ilo By Anthony Chen ( Singapore )
Best Director
Heli by Amat Escalante
Best Screen Play
Tian Zhu Ding ( A Touch of Sin ) by Jia Zhangke ( China )
Best Actress
Bérénice Bejo by Le Passé ( The Past ) (France)
Best Actor
Bruce Dern by Nebraska ( U.S. )
Short Film
Safe by Moon Byoung-Gon (South Korea)
Priz of Un Certain Regard
The Missing Picture by Rithy Panh
Un Certain Regard Special Jury Prize

Omar by Hany Abu-Assad

วันพฤหัสบดี, มิถุนายน 20, 2556

La Fête de la Musique en France

Fetedelamusique.jpg


La Fête de la musique a lieu à travers le monde le 21 juin (date qui coïncide le plus souvent avec le premier jour de l’été dans l’hémisphère nord), principalement le soir et la nuit jusqu'au lendemain matin. Elle est actuellement[Quand ?] célébrée dans une centaine de pays. Divers festivals de musique locaux qui se déroulaient ce jour de solstice participent aujourd’hui à cette fête populaire.


Elle est parfois connue aussi sous le nom World Music Day (Journée mondiale de la Musique) bien que le nom français soit aussi souvent utilisé dans certains pays anglophones (en même temps que Make Music!, traduction littérale de « Faites de la musique ! ») ou germanophones, ou bien sous des noms traduits littéralement comme Fiesta de la Música (espagnol), Festa della Musica (italien), Święto Muzyki (polonais), Praznic Musike (bosnien) ou encore Dünya Müzik Günü (turc), avec des logos similaires graphiquement à ceux utilisés en France pour les festivités affiliées au programme français


Le 21 juin a été choisi car il coïncide le plus souvent avec le solstice d’été (donc aussi un des jours les plus longs de l’année, ou la nuit la plus courte pour ceux qui festoient jusqu’à l’aube)3. La coïncidence avec l’été symbolise ainsi le sacre de la nature à travers cette journée festive, à l'image des fêtes païennes dédiées à la nature ou aux moissons depuis l’Antiquité (dont les fêtes de la Saint Jean, des fêtes populaires où un grand feu était allumé toute la nuit le soir du 24 juin, date traditionnelle de fin des plus longs jours de l’année, et qui ont existé en France jusque dans les années 1990, où la plupart des feux ont été interdits pour des raisons de sécurité et souvent aussi à cause de la législation destinée à éviter les incendies dans des zones soumises à des restrictions d’eau ou de protection de l’environnement).
Des fêtes similaires existaient également dans les pays nordiques à cette période de l’année où le soleil ne se couche jamais (par exemple les nuits blanches à Saint-Pétersbourg où on célèbre les arts sous toutes leurs formes). Cette idée a été reprise en France plus tard avec la Nuit Blanche fêtée lors du premier week-end d’octobre peu après l’équinoxe où la nuit devient plus longue que le jour.


La Fête de la Musique a pour vocation de promouvoir la musique de deux façons. Sous le slogan homophone à son nom, « Faites de la musique ! », elle encourage les musiciens amateurs à se produire bénévolement dans les rues et espaces publics. Grâce à l’organisation de nombreux concerts gratuits, d’amateurs mais aussi de professionnels, elle permet à un public large d’accéder à des musiques de toutes sortes et origines (musique classique, jazz, rock, world music, musique traditionnelle, etc.) et mêmes celles chantées dans toutes les langues.
De nombreux établissements sont autorisés à rester ouverts plus longtemps ce soir là pour accueillir le public, et de nombreuses rues sont fermées à la circulation dans les grandes villes pour laisser la place aux scènes organisées ou improvisées et aux spectateurs qui déambulent d’un spectacle à l’autre. Toutefois, ce n’est pas le cas partout où les scènes sont alors montées dans des espaces mieux délimités tels que des parcs et espaces sportifs, mais aussi des salles de spectacles avec des entrées exceptionnellement gratuites ce jour-là. À côté des spectacles gratuits et concerts amateurs de rue, des concerts payants peuvent aussi être parfois organisés pour des artistes confirmés mais ne peuvent prétendre à l’appellation « Fête de la Musique. »

La Fête de la Musique n’a pas encore acquis dans le Monde l’ampleur et la régularité qu’elle a acquise en France, car elle dépend largement de la volonté (et des moyens) des organisateurs locaux issus des milieux associatifs (mais souvent aussi sous l’impulsion des réseaux francophones), même si l’évènement est devenu dans certains pays populaire et spontané (comme dans les régions francophones de Belgique et de Suisse ou certains pays d’Amérique latine), avec de nombreuses festivités d’initiative locale et privée, un support actif des pouvoirs publics en matière d’organisation et de sécurité et certaines modifications comme à Genève où la fête dure trois jours le weekend le plus proche du 21 juin.

De http://fr.wikipedia.org


Le 21 juin 2013, France 2 s'investit une nouvelle fois pour la Fête de la Musique. Un concert présenté par Daniela Lumbroso, Patrick Sébastien et Aïda Touihri verra une trentaine d'artistes populaires chanter en direct sur le Vieux Port de Marseille, dont Shy'M, Adamo, Enrico Macias, M.Pokora...
Malgré la polémique qui entoure le financement de la soirée, France 2 organisera bien une soirée spéciale Fête de la Musique le vendredi 21 juin 2013 sur le Vieux Port à Marseille. Après Nagui l'an dernier à Carcassonne, c'est un trio d'animateurs de la chaîne composé deDaniela Lumbroso (Chabada), Patrick Sébastien (Le plus grand cabaret du monde) et Aïda Touihri (Grand Public) qui sera chargé d'organiser et de présenter le concert diffusé en prime time sur la chaîne publique.
Le lieu choisi (le Vieux Port de Marseille) est déjà en soit une belle promesse de soirée réussi. Mais au cadre idyllique se joint une affiche de premier plan. En attendant la liste définitive des artistes et groupes qui participeront à cette Fête de la musique 2013 (prochainement communiquée par France 2), on sait déjà par l'intermédiaire de Patrick Sébastien que Salvatore Adamo, Enrico Macias, M. Pokora, Shy'm et Tal se produiront lors de ce concert géant.
Voilà qui donne le ton de cette soirée sur France 2, résolument populaire avec des chanteurs capables de toucher le plus vaste public possible. On ne sait pas en revanche si des rappeurs marseillais comme I AM ou Soprano seront de la partie. Réponse d'ici quelques jours sur Concertlive.fr, dans le dossier spécial Fête de la Musique 2013.

วันเสาร์, มิถุนายน 15, 2556

ดนตรีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียน


1.The Flute Quartet No.1 in D major, K.285 ของ โมซาร์ท

2.The Violin Concerto in D major, Op.61 ของ เบโธเฟน

3.The Piano Sonata No.14 in C-sharp minor,Op.27, No.2 ของ เบโธเฟน

4.The Piano Trio No.1 in B minor, Op.8 ของ บรามส์

5.The Violin Concerto No.2 in B minor, Op.7 ของปากานินี

6.Serenade for strings in C major, Op.48 ของไคอฟสกี


การฟังดนตรีคลาสสิกที่บรรเลงด้วยเครื่องดนตรีหลากชนิดจะช่วยสร้างคลื่นสมองที่มีผลดีต่อการเรียนโดยตรง และถ้าฟังดนตรีคลาสสิกผ่านเครื่องเล่นสเตอริโอจะชาวยเพิ่มประสิทธิภาพสมองได่สูงสุด

การฟังดนตรีคลาสสิกไม่เพียงแค่ช่วยควบคุมคลื่นสมอง แต่ยังช่วยกระตุ้นเซลล์ต่างๆในร่างกาย

ดังนั้นหากฟังดนตรีคลาสสิกอย่างสม่ำเสมอ จึงเป๋ช็นการเพิ่มพลังีวิตให้แก่ร่างกายมากข้นเรื่องนี้ยืนยังได้จากอายุขัยเฉลี่ยที่ยืนยาวของบรรดาวาทยากรวงออร์เคสตรา

ขอบคุณเนื่อหาดีๆจากหนังสือ ขโมยสมองไอน์สไตน์. ชองอึนกี